วันลอยกระทงปีนี้ ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน 2553 ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ผู้คนจะพากันออกไปร่วมกิจกรรมลอยกระทงยามค่ำคืน
ตามริมฝั่งแม่น้ำ ลำคลอง มีการจุดพลุ แสง สี เสียง …หลายแห่งมีการจัดงานเฉลิมฉลองเทศกาลลอยกระทงอย่างยิ่งใหญ่
สถานที่ยอดนิยม ยอดฮิต ที่อยากจะแนะนำ เพราะมีผู้คนมากมายไปร่วมลอยกระทง..คือ

สถานที่..ลอยกระทงยอดฮิต…ในปี 2553

“สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง“

จัดเป็นงานส่งเสริมการท่องเที่ยวทางน้ำตลอดทั้งเดือนพฤศจิกายน (1-30 พ.ย.2553)
บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ด้วยกิจกรรมที่สร้างสีสันหลากหลาย ประกอบด้วย
บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ด้วยกิจกรรมที่สร้างสีสันหลากหลาย ประกอบด้วย


สวนสันติชัยปราการ, บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา (สะพานกรุงเทพ ถึง สะพานกรุงธน)
กรุงเทพมหานคร

ระหว่างวันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2553 ณ บริเวณริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา
(สะพานกรุงเทพ ถึง สะพานกรุงธน) กรุงเทพมหานคร
สัมผัสบรรยากาศพิเศษสุดของงานลอยกระทงในแบบกรุงรัตนโกสินทร์ ระหว่างวันที่
19-21 พฤศจิกายน 2553 เวลา 18.30 – 21.30 น.
บริเวณลานทัศนาภิรมย์หน้าหอประชุมกองทัพเรือ กรุงเทพมหานคร
ชมขบวนเรือประดับไฟฟ้าในมุมมองที่ดีที่สุด
ดื่มด่ำกับการแสดงศิลปวัฒนธรรมที่หาชมได้ยากและบรรยากาศตลาดย้อนยุค
19-21 พฤศจิกายน 2553 เวลา 18.30 – 21.30 น.
บริเวณลานทัศนาภิรมย์หน้าหอประชุมกองทัพเรือ กรุงเทพมหานคร
ชมขบวนเรือประดับไฟฟ้าในมุมมองที่ดีที่สุด
ดื่มด่ำกับการแสดงศิลปวัฒนธรรมที่หาชมได้ยากและบรรยากาศตลาดย้อนยุค

“งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ”

เป็นประเพณีบูชาด้วยประทีปที่มีมาแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี
ตามที่ปรากฏหลักฐานในหลักศิลาจารึกพ่อขุนราม คำแหงหลักที่ 1 มีข้อความกล่าวถึง
การเผาเทียน เล่นไฟ ว่าเป็นงานที่ยิ่งใหญ่อลังการที่สุดของอาณาจักรสุโขทัย
เมื่อกว่า 700 ปีก่อน ซึ่งได้คลี่คลายมาเป็นประเพณีลอยกระทง เผาเทียน
เล่นไฟในปัจจุบัน โดยมีการแสดงแสง-เสียง จำลองบรรยากาศงานเผาเทียน
เล่นไฟสมัยสุโขทัย ให้ผู้คนทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศได้ชื่นชม
ตามที่ปรากฏหลักฐานในหลักศิลาจารึกพ่อขุนราม คำแหงหลักที่ 1 มีข้อความกล่าวถึง
การเผาเทียน เล่นไฟ ว่าเป็นงานที่ยิ่งใหญ่อลังการที่สุดของอาณาจักรสุโขทัย
เมื่อกว่า 700 ปีก่อน ซึ่งได้คลี่คลายมาเป็นประเพณีลอยกระทง เผาเทียน
เล่นไฟในปัจจุบัน โดยมีการแสดงแสง-เสียง จำลองบรรยากาศงานเผาเทียน
เล่นไฟสมัยสุโขทัย ให้ผู้คนทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศได้ชื่นชม


อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.สุโขทัย


“ประเพณียี่เป็ง“
เป็นงานประเพณี อันยิ่งใหญ่แห่งดินแดนล้านนา
ที่ได้ปฎิบัติสืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล “ยี่เป็ง”
หรือวันเพ็ญเดือนยี่ของชาวล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง
อันเป็นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดูหนาว อากาศปลอดโปร่งท้องฟ้าแจ่มใส
ธรรมเนียมปฎิบัติของชาวล้านนาอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการลอยกระทงในแม่น้ำก็คือ
การจุดประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้า โดยมีคติความเชื่อว่า
เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬ ามณี บนสรวงสวรรค์ หรือบ้างก็เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์
หรือสะเดาะเคราะห์ ให้เกิดความเป็นมงคลแก่ชีวิต
ที่ได้ปฎิบัติสืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล “ยี่เป็ง”
หรือวันเพ็ญเดือนยี่ของชาวล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง
อันเป็นช่วงปลายฤดูฝน ต้นฤดูหนาว อากาศปลอดโปร่งท้องฟ้าแจ่มใส
ธรรมเนียมปฎิบัติของชาวล้านนาอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการลอยกระทงในแม่น้ำก็คือ
การจุดประทีปโคมลอยขึ้นไปสว่างไสวบนท้องฟ้า โดยมีคติความเชื่อว่า
เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬ ามณี บนสรวงสวรรค์ หรือบ้างก็เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์
หรือสะเดาะเคราะห์ ให้เกิดความเป็นมงคลแก่ชีวิต



การประกวดขบวนแห่โคมยี่เป็ง การประกวดนางนพมาศ การแสดงศิลปวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม
“มหกรรมแห่งสายน้ำ สีสันสายน้ำปิง”

“ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง”
เป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวจังหวัดตาก มีเอกลักษณ์เฉพาะ แตกต่างจากที่อื่น ๆ
คือ การใช้กะลามะพร้าวเป็นองค์ประกอบหลักของกระทง
ด้วยเหตุที่ชาวจังหวัดตากนิยมประทาน “เมี่ยง” เป็นอาหารว่าง
และผลิตเป็นสินค้าพื้นเมืองที่สำคัญ ทำให้ต้องใช้เนื้อมะพร้าวเป็นจำนวนมาก
เพื่อเป็นไส้เมี่ยง และมีกะลาเป็นส่วนที่เหลือใช้ ครั้นเมื่อถึงเทศกาลลอยกระทง
ชาวบ้านก็จะนำกะลามะพร้าวมาประดิษฐ์เป็นกระทง แล้วจุดไฟปล่อยให้
ลอยไหลเป็นสายไปตามความคดโค้งของร่องน้ำปิง
กลายเป็นสายประทีปนับพันดวงทอดยาวไปในลำน้ำ นับเป็นภาพตระการตาหาชมได้ยากยิ่ง
ประเพณีบูชาสายน้ำในประเพณีลอยกระทงของชุมชนลุ่มน้ำปิง – วัง แห่งเมืองตาก
ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นแตกต่างจากท้องถิ่นอื่นๆ และเป็นที่รู้จักกันดีในนาม “
“ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง” นั้น สำหรับปี 2553 นี้ จังหวัดตาก
จะจัดให้มีกิจกรรมดีๆ ให้ผู้มาเยือนได้ชื่นชมมากและนานกว่าทุกๆ ปี
คือ การใช้กะลามะพร้าวเป็นองค์ประกอบหลักของกระทง
ด้วยเหตุที่ชาวจังหวัดตากนิยมประทาน “เมี่ยง” เป็นอาหารว่าง
และผลิตเป็นสินค้าพื้นเมืองที่สำคัญ ทำให้ต้องใช้เนื้อมะพร้าวเป็นจำนวนมาก
เพื่อเป็นไส้เมี่ยง และมีกะลาเป็นส่วนที่เหลือใช้ ครั้นเมื่อถึงเทศกาลลอยกระทง
ชาวบ้านก็จะนำกะลามะพร้าวมาประดิษฐ์เป็นกระทง แล้วจุดไฟปล่อยให้
ลอยไหลเป็นสายไปตามความคดโค้งของร่องน้ำปิง
กลายเป็นสายประทีปนับพันดวงทอดยาวไปในลำน้ำ นับเป็นภาพตระการตาหาชมได้ยากยิ่ง
ประเพณีบูชาสายน้ำในประเพณีลอยกระทงของชุมชนลุ่มน้ำปิง – วัง แห่งเมืองตาก
ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นแตกต่างจากท้องถิ่นอื่นๆ และเป็นที่รู้จักกันดีในนาม “
“ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง” นั้น สำหรับปี 2553 นี้ จังหวัดตาก
จะจัดให้มีกิจกรรมดีๆ ให้ผู้มาเยือนได้ชื่นชมมากและนานกว่าทุกๆ ปี


เชิงสะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี จังหวัดตาก

การประกวดกระทงสายชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
การจัดลอยพระประทีปของพระบรมวงศานุวงศ์ การจัดขบวนแห่กระทงพระราชทาน
และพระประทีปพระราชทาน การจัดตกแต่งประดับไฟบริเวณงาน การจัดแสดงแสง เสียง พลุ
และดอกไม้ไฟ การจัดแสดงม่านน้ำ ชุด ตำนานกระทงสาย การจัดลอยกระทงที่ยาวที่สุด
การแสดงทางวัฒนธรรมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง
และการจำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

“ลอยกระทงตามประทีป” (ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ)
ในอดีตสมัยกรุงศรีอยุธยา ปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุว่ามี “พระราชพิธีชักโคม
ลอยพระประทีป” ซึ่งได้ว่างเว้นไปในคราวเสียกรุง เหลือแต่เพียงประเพณีของราษฎร
ซึ่งในปัจจุบันได้มีการรื้อฟื้น และจำลองพระราชพิธีดังกล่าว
เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับบรรยากาศของราชสำนัก
ซึ่งนับเป็นงานลอยกระทงที่ยิ่งใหญ่งานหนึ่งของประเทศ
ลอยพระประทีป” ซึ่งได้ว่างเว้นไปในคราวเสียกรุง เหลือแต่เพียงประเพณีของราษฎร
ซึ่งในปัจจุบันได้มีการรื้อฟื้น และจำลองพระราชพิธีดังกล่าว
เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับบรรยากาศของราชสำนัก
ซึ่งนับเป็นงานลอยกระทงที่ยิ่งใหญ่งานหนึ่งของประเทศ



การประกวดนางนพมาศ การแสดง แสง-เสียง และสื่อผสม การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยพื้นบ้าน
การออกร้านจำหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภค และมหรสพต่างๆ ์

“ประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยเมืองแม่กลอง”
เนื่องจากจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดที่ผูกพันกับสายน้ำมีแม่น้ำแม่กลองไหลผ่าน และมีลำคลองต่าง ๆ กว่า 300 สาย ทั้งๆ ที่เป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย ผนวกกับภูมิปัญญา ที่นำวัตถุดิบจากท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นกระทงกาบกล้วย สืบสานกันต่อมาจนเกิดเป็น “ประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยเมืองแม่กลอง” แสดงให้เห็นถึงความประหยัด เรียบง่าย และ พอเพียง ซึ่งจังหวัดสมุทรสงครามได้ฟื้นฟูประเพณีที่ห่างหายไปกว่า 50 ปี ให้กลับคืนมา


